วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สรุปโทรทัศน์ครู บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ตอน  พลุไร้ไฟ

  ในโทรทัศน์ครูที่ดูเป็นการทดลองเรื่องของ  ลูกโป่ง

สื่อ อุปกรณ์
ลูกโป่ง
หลอด
หนังยาง
ขั้นนำ
- ครูจะถามเด็กๆว่างานเลี้ยงที่เด็กๆเคยไปคืองานอะไรบ้าง
ขั้นสอน
- ครูนำลูกโป่งมาให้เด็กดู แล้วถามเด็กว่าลูกโป่งมีลักษณะอย่างไร
- ลูกโป่งสามารถนำมาทำอะไรในงานปาร์ตี้
- ครูนำหลอดมาให้เด็กดู ถามเด็กว่าหลอดของเรามีลักษณะอย่างไรบ้าง
- ครูให้เด็กนำลูกโป่งที่มีอยู่แล้วก่อนหน้ามามัดติดกับลูกโป่งแล้วให้เด็กลองเป่าโดยการใช้หลอด
- ครูให้เด็กเป่าลูกโป่งแล้วให้เด็กใช้นิ้วอุดรูปลายหลอดไว้และปรับปลายหลอดให้มีลักษณะงอ
- ครูให้เด็กปล่อยลูกโป่งและให้เด็กสังเกตว่าลูกโป่งจะเป็นอย่างไร
ขั้นสรุป

- ครูและเด็กร่วมกันสรุปการทดลองพลุไร้ไฟว่ามีลักษณะอย่างไร


สรุปการทดลอง

จาดการทดลองผลปรากฏว่า   เมื่อทำการทดลองไปแล้วจะเห็นได้ว่าลมในลูกโป่งถูกปล่อยออกมาทางหลอดดูดเมื่อปลายหลอดดูดมีลักษณะงอลมที่พัดออกมาจึงเป็นแนวโค้งตามไปด้วยลูกโป่งจึงหมุนรอบตัวเองตามแนวโค้งของทิศทางลมแต่เมื่อปลายหลอดตรงลมที่พัดออกมาจึงเป็นแนวตรง ดั้งนั้นที่ลูกโป่งเคลื่อนที่หรือพุ่งไปข้างหน้าในอากาศได้เพราะมีแรงขับจากลมที่ปล่อยจากภายในลูกโป่งนั้นเอง





วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

วัน/เดือน/ปี  4 ธันวาคม  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.


เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.



ความรู้ที่ได้รับ (Knowle)


วันนี้เริ่มเรียนโดยการเก็บตกการนำเสนองานวิจัย 1 คน และได้ทำแผ่นพับ

การนำเสนองานวิจัย (Research Report)
        งานวิจัยเรื่อง การส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตร์การลงสรุปสำหรับเด็กปฐมวัย          

 ผู้วิจัย        นงลักษณ์ บุญระชัยสวรรค์

                   กิจกรรมไข่หมุน
 ทักษะวิทยาศาสตร์  การสังเกตและการเปรียบเทียบ    


          เมื่อนำเสนอวิจัยเสร็จ อาจารย์ก็ให้นักศึกษาทำแผ่นพับ ข่าวประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ปกครอง เกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนกำลังเรียนที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ต่างๆแต่ทางโรงหาให้ได้ไม่เพียงพอครูควรจะมีการประชาสัมพันธ์กับผู้ปกครองอย่างไร ในการขอความร่วมมือในการจัดทำกิจกรรมในครั้งนี้

อาจารย์ได้ให้แบ่งกลุ่มและช่วยกันทำแผ่นพับ  ข่าวประชาสัมพันธ์ กลุ่มของดิฉันทำออกมาได้ดังนี้







เทคนิควิธีการสอน (Teaching Methods)
- การใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิด
- การเรียนรู้ด้วยตนเองลงมือทำด้วยนเอง
- การให้ฝึกให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์

การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
สามารถนำเทนิการจัดกิกรรม่างๆไปจัดกิกรรมให้กับเด็กได้อย่างถูกต้อง
มีเทนิในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์วิทยาศาสตร์
- สามารถจัดให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมของเด็กได้โดยการขอความอนุเคราะห์ขออุปกรณ์ในการทำกิจกรรมต่างๆ

การประเมินหลังเรียน (Assessment)
ตนเอง (Assessment Self): ตั้งใจเรียนเข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบและสนใจในกิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำและตั้งใจฟังเพื่อนออกมานำเสนอวิัย
เพื่อน(Assessment Friend) : เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจเรียนมีการสนทนาโต้ตอบกับอาจารย์เป็นอย่างดี ไม่คุยกันเสียงดังและร่วมกันทำกิจกรรมในห้องเป็นอย่างดี
อาจารย์ (Assessment Teachers) : อาจารย์เข้าสอนรงเวลาเมื่อเพื่อนนำเสนอเสร็อาารย์ก็ให้ำแนะนำและถามทบทวนกับนักศกษาทุกายในห้อง และในการทำแผนพับอาจารย์ก็ให้ำแนะนำกับทุกกลุ่มเป็นอย่างดี








ชื่อผู้วิจัย   นางจำเรียง แจ้งกูล

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
             1.  เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์  ชุด พี่ลิตา  น้องลาติน  สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่  2  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80 / 80 
             2.  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์  ชุด พี่ลิตา  น้องลาติน  สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่  2  ก่อนเรียนและหลังเรียน
             3.  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลโคกใหม่ละหานทราย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3  ที่มีต่อการจัดประสบการณ์โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ชุด พี่ลิตา  น้องลาติน
สรุปวิจัย   
เนื่องจากความสามารถของเด็กปฐมวัยในวัยนี้ ควรใช้สื่อที่เป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรม ภาพเป็นสื่อรูปธรรมที่มีผู้นิยมนำมาใช้กับเด็กปฐมวัยมากอีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากการใช้ภาพเป็นสื่อนั้น ช่วยส่งเสริมความสามารถทางด้านพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เนื่องด้วยพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เรื่องที่หลากหลายจากการพบเห็นสิ่งต่างๆ จากรูปภาพ สอดคล้องกับ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2545 : 74) และ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 17-20) กล่าวว่า เด็กปฐมวัยยังไม่สามารถเข้าใจในเรื่องที่เป็นนามธรรมได้ ต้องอาศัยสื่อที่เป็นรูปธรรม ภาพจึงเป็นสื่อที่เหมาะสม ทั้งนี้เพราะธรรมชาติของเด็กไม่ว่าจะเป็นเพศหญิงหรือเพศชาย จะมีความสนใจในการเรียนรู้จากภาพที่เห็นในรูปลักษณะต่าง ๆ นอกจากนี้ สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2541 : 11-12) กล่าวว่า รูปภาพยังสามารถช่วยกระตุ้นการทำงานของสมองทั้งสองซีกพร้อม ๆ กันอย่างมีระบบ กล่าวคือ ในขณะที่ฟังเพื่อนพูดเด็กต้องใช้สมองซีกซ้ายในการรับรู้ จินตนาการตามภาพจากเรื่องที่ฟัง และการมองเห็นภาพโดยรวมจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการทางภาษา โดยเฉพาะทักษะทางด้านพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างมาก
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ของหนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ จึงสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ชุด พี่ลิตา น้องลาติน สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้เป็นสื่อการเรียนรู้พัฒนาด้านสติปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเรียนรู้ และการตอบสนองการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย นอกจากนี้ ผู้รายงานมีความสนใจที่จะศึกษาผลของการใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ว่า จะมีผลต่อความสามารถด้านพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหรือไม่เพียงใด ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย ได้เลือกใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมความสามารถด้านพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ผลการศึกษา  พบว่า
                1.  หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์  ชุด  พี่ลิตา  น้องลาตินสำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่  2  มีประสิทธิภาพ  89.92/ 89.17  ซึ่งสูงกว่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80 / 80  ที่กำหนดไว้     
                2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ชุด  พี่ลิตา  น้องลาติน  สำหรับเด็กชั้นอนุบาลปีที่  2  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01 
                3.  ความพึงพอใจของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดประสบการณ์โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โรงเรียนอนุบาลโคกใหม่ละหานทราย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3  ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 2.61, S.D. = 0.52)




บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วัน/เดือน/ปี  27 พฤศจิกายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.


เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.



ความรู้ที่ได้รับ (Knowle)

วันนี้เริ่มเรียนโดยการนำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูเพื่อนได้สรุปวิจัยและโทรทัศน์มานำเสนอให้เพื่อนในห้องได้ฟังดังนี้

การนำเสนองานวิจัย (Research Report)

 งานวิจัยเรื่องที่1 การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
 >> ทักษะทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผ่านประสาทสัมผัส มี 4 ทักษะ
          - การสังเกต
          - การจำแนก
          - การวัด
          - มิติสัมพันธ์
>> หน่วย สัตว์เลี้ยงแสนดี อุปกรณ์ แผ่นภาพอาหารของสัตว์
          การจัดกิจกรรม
>> ครูนำภาพมาให้เด็กดูแล้วถามเด็กว่า สัตว์ไม่ได้กินอาหารจะเป็นอย่างไร

 งานวิจัยเรื่องที่2 ผลการจัดประสบการณ์เน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
>>  ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การสังเกต   การประมาณ   การเปลี่ยนแปลง
>>  ครูแนะนำกิจกรรม ครูบอกเด็กว่าจะพาไปเที่ยวรอบโรงเรียนให้เด็กส่องสิ่งที่มองเห็น
>>   ครูให้เด็กส่องดูผ่านแว่นแล้วมองดูผ่านตา
>>   ครูให้เด็กวาดภาพ จากสิ่งที่มองเห็น
>>  ครูใช้คำถาม เด็กมองเห็นวัตถุของจริง เด็กมองเห็นเป็นอย่างไร และเด็กมองผ่านแว่นเป็นอย่างไร
>>  สรุปลงความเห็นการมองผ่านแว่นขยายและไม่ใช้แว่นขยาย

งานวิจัยเรื่องที่3 การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
>>  การคิดเชิงเหตุผล มีความจำเป็นต่อการดำรงชิวิตของมนุษย์และเป็นทักษะพื้นฐาน
>>  เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
>>  การคิดเชิงเหตุผลมี 3 อย่างคือ
>>  การจำแนกประเภท
>>  การจัดประเภท
>>  ด้านอนุกรม
>>  หน่วยสนุกน้ำ
>>  หน่วยอากาศแสนสนุก
>>  หน่วยพืชน่ารู้
>>  หน่วยพลังงานแสนกล
>>  หน่วยเรียนรู้ธรรมชาติ
>>  หน่วยฉันคือใคร

 งานวิจัยเรื่องที่4 ผลของกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้านการจำแนก
>>  ทักษะทางวิทยาศาสตร์  การสังเกต การจำแนก การวัด การสื่อความหมาย  การลงความเห็น  มิติสัมพันธ์


การนำเสนอโทรทัศน์ครู
1.   เรื่อง เสียงมาจากไหน
2.   เรื่อง สอนวิทย์ คิดสนุกกับเด็กปฐมวัย
3.   เรื่อง เรียนวิทยาศาสตร์สนุก
4.  เรื่อง หน่วยไฟ
5.  เรื่อง  ขวดปั๊มและลิปเทียน
6บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง สีของกะหล่ำปลี
7.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง พลังจิตคิดไม่ซื่อ
8.  นมสีจากน้ำยาล้างจานสำหรับเด็กปฐมวัย
9.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ทะเลฟองสีรุ้ง
10.  สนุกคิดวิทย์ทดลอง
11.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง ทอนาโดมหาภัย
12.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ความลับของใบบัว
13.  การทดลองความแข็งของวัตถุ


เทคนิควิธีการสอน (Teaching Methods)
-   การใช้คำถามปลายเปิด
-   การเรียนรู้ด้วยตนเอง
-   การให้ฝึกให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์

การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
- สามารถนำวิจัยและโทรทัศน์รูที่เพื่อนได้ออกมานำเสนอไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกทักษะวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี
- สามารถนำเทนิการจัดกิกรรมในวิจัยและโทรทัศน์รูที่เพื่อนได้ออกมานำเสนอไปัดให้เหมาะสมกับเด็กได้เป็นอย่างดี

การประเมินหลังเรียน (Assessment)
ตนเอง (Assessment Self):  เข้าเรียนรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและฟังในสิ่งที่เพื่อนออกมานำเสนอและ ให้ความร่วมมือในการอบำถามอาารย์
เพื่อน(Assessment Friend) : เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลาแ่ก็ยังมีนมาสาย ทุกนแต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจฟังเพื่อนออกไปนำเนองานวิจัยและโทรทัศน์ ข้างหลังคุยกันเสียงดังบ้างเล็กน้อย
 (Assessment Teachers) : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา ในการเรียนอาจารย์จะคอยเสริมความรู้ให้นักศึกษาอยู่ตลอดเวลา





บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วัน/เดือน/ปี  20 พฤศจิกายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.

เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.





ความรู้ที่ได้รับ (Knowle)
วันนี้เป็นการนำเสนองานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่ใช้กับเด็กปฐมวัย เพื่อนที่ออกมานำเสนอสรุปงานวิจัยออกมาได้ดังนี้

วิจัยเรื่องที่ 1 เรื่องการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ผู้วิจัย   ณัฐดา  สาครเจริญ
วัตถุประสงค์   เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนหลังการจัดกิจกรรมและเพื่อศึกษาระดับการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การสังเกต การจำแนก การลงความเห็น การสื่อความหมาย
การหามิติสัมพันธ์
เครื่องมือที่ใช้    แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยจะมีศิลปะถ่ายโอน ศิลปะปรับภาพ ศิลปะค้นหา ศิลปะเปลี่ยนแบบ ศิลปะบูรณาการ

วิจัยเรื่องที่ 2 เรื่องผลของการบันทึกประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย   พีรภัทร
วัตถุประสงค์   เพื่อศึกษาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย
ทักษะทางวิทยาศาสตร์   การหามิติสัมพันธ์การมองเห็น/เข้าใจความสัมพันธ์ของวัตถุ
เครื่องมือที่ใช้    แผนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ประกอบการบันทึกและแบบทดสอบวัดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์

วิจัยเรื่องที่3 เรื่องผลของการจัดประสบการณ์ที่ได้รับจากการใช้กิจกรรมมุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการเล่นตามมุมวิทยาศาสตร์อย่างมีแบบแผน
ผู้วิจัย   เสาวภาคย์
วัตถุประสงค์   เพื่อศึกษาความสามารถด้านการจำแนกของเด็กปฐมวัย
ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การจำแนก  จัดกลุ่ม เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์ เปรียบเทียบความเหมือนต่าง
เครื่องมือที่ใช้    แผนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์และแบบทดสอบวัดทักษะการจำแนก

วิจัยเรื่องที่ 4 เรื่องผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้กระบวนการเสาะหาความรู้เพื่อพัฒนาทักษะการจำแนกของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย  อัจฉราภรณ์ เชื้อกลาง
วัตถุประสงค์   เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อน-หลังการทำกิจกรรม
ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ การแสดงปริมาณ การสื่อความหมาย การลงความเห็น การหามิติสัมพันธ์
เครื่องมือที่ใช้    แผนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์และแผนการจัดประสบการณ์เล่นตามมุมวิทยาศาสตร์อย่างมีแบบแผน

จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาส่งสื่อที่ทำเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และ ได้จำแนกของเล่นวิทยาศาสตร์ออกเป็นกลุ่มๆดังนี้

สื่อที่เกิดจุดศูนย์ถ่วง 




สื่อที่เกิดเสียง





สื่อที่เกิดจากการใช้แรงดันลมหรืออากาศ





สื่อที่ใช้ในการจัดมุมประสบการณ์วิทยาศาสตร์





สื่อที่ใช้พลังงานหรือการเกิดแรง




ากนั้นอาารย์ก็ได้ให้นักศกษาแบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม Cooking
โดยให้นักศกษาทำ วาฟเฟิล
         อาารย์เตรียมอุปกรณ์มาให้นักศกษาและแนะนำอุปกรณ์แต่ละอย่างจากนั้นบอกวิธีการทำแล้วให้นักศกษาแยกออกเป็นกลุ่มแล้วเริ่มทำกิกรรม การทำ วาฟเฟิล


อุปกรณ์ทั้งหมด




แบ่งอุปกรณ์ให้แต่ละกลุ่ม



อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน



ขั้นตอนการทำ



1. ตีไข่1ฟองให้เข้ากัน


2. เทแป้งและเนยลงไปจากนั้นก็ตีให้เข้ากัน



3. เทน้ำเติมลงไปประมาณครึ่งแก้วแล้วตีทุกอย่างให้เข้ากันแล้วตักใส่ถ้วยขนาดเล็ก


4. ตักใส่ถ้วยขนาดเล็กเพื่อนำไปเทใส่เครื่องทำวาฟเฟิล


5. เทใส่เครื่องทำวาฟเฟิลจนหมดถ้วยแล้วรอจนสุข



6. เมื่อสุขแล้วก็ตักออกจากเครื่อง



ก็จะได้วาฟเฟิลที่น่ากินแบบนี้คะ



การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
- สามารถนำวามรู้ในการทำกิจกรรมการทำวาฟเฟิลไปสอนเด็กให้ทำในอนาคตได้
- สามารถนำเทนิการจัดกิกรรมวันนี้ไปัดให้เหมาะสมกับเด็กได้เป็นอย่างดี
- สามารถนำวิจัยที่เพื่อนได้ออกมานำเสนอไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกทักษะวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี
- สามารถนำของเล่นวิทยาศาสตร์ไปให้เด็กเล่นให้เขารู้จักการสังเกตหรือมีทักษะวิทยาศาสตร์

การประเมินหลังเรียน (Assessment)
ตนเอง (Assessment Self):  เข้าเรียนสาย5นาที แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและฟังในสิ่งที่เพื่อนออกมานำเสนอและ ให้ความร่วมมือในการทำวาฟเฟิลเป็นกลุ่มออกมาน่ากินมากและส่งงานตามที่กำหนด
เพื่อน(Assessment Friend) : เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลาแ่ก็ยังมีนมาสาย ทุกนแต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจฟังเพื่อนออกไปนำเนองานวิจัย เพื่อนทุกกลุ่มั้งใทำวาฟเฟิลกันทุกกลุ่มและน่ากิน บางกลุ่มทำบาง บางกลุ่มทำหนาแ่ก็ดูน่ากินเหมือนกันทุกกลุ่ม
 (Assessment Teachers) : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา ในการเรียนอาจารย์จะคอยเสริมความรู้ให้นักศึกษาอยู่ตลอดเวลาวันนี้มีการัดกิกรรมกลุ่มโดยให้นักศกษาทำวาฟเฟิลอาารย์เรียมอุปกรณ์มาให้นักศกษารบทุกกลุ่มเป็นการเรียนที่สนุกมาก