วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วัน/เดือน/ปี 11 กันยายน 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.


ความรู้ที่ได้รับ

          วันนี้เริ่มการเรียนการสอนโดยให้เพื่อนมาสรุปบทความที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีทั้งหมดสี่คน 4 เรื่องด้วยกัน  คือ
1.หลักการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Preschool Science)
2. แนวทางสอนคิดเติม วิทย์ให้เด็กอนุบาล
3. อพวช.ผนึกพันธมิตรจัดงาน วันนักวิทยาศาสตร์น้อยหวังปลูกความรักวิทยาศาสตร์ให้เด็กปฐมวัย
4. การสอนลูกเรื่องการลดภาวะโลกร้อน (Warming) 


ดิฉันได้ สรุป(Infer) ความรู้ที่ได้รับจากเพื่อนออกมาได้ดังนี้



หลังจากที่เพื่อนออกมาสรุปบทความครบทั้งสี่คนแล้วอาจารย์ก็ได้สอนเนื้อหา                   เรื่อง ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย 


          ดิฉันสรุปความรู้ที่ได้จาก เรื่อง ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
ที่อาจารย์สอนสรุปออกมาได้ดังนี้




การนำไปใช้  (Applied)
สามารถนำเอาความรู้จากบทความของเพื่อนที่เพื่อนนำเสนอไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้
 - สามารถนำเอาความรู้และทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
ไปจัดกิจกรรมให้เด็กและพัฒนาเด็กได้อย่างถูกวิธี
วิธีการสอน  (Teaching methods)
อาจารย์ใช้เทคโนโลยีประกอบการสอนโดยการใช้  Power Point และให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์และการหาคำตอบในสิ่งที่อาจารย์สอน

การประเมินหลังเรียน 
ตนเอง : เข้าเรียนสาย แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและโต้ตอบกับอาจารย์ในสิ่งที่ตนเองพอที่จะทราบ
เพื่อน : เพื่อนที่นำเสนอคนที่ 1ออกมานำเสนอยังไม่มีความพร้อมมากนักเพราะก่อนนำเสนอไม่แนะนำชื่อแต่เนื้อหาบทความเป็นความรู้ให้กับเพื่อนๆเป็นอย่างดี   คนที่ 2มีความพร้อมในการนำเสนอเริ่มต้นได้ดีเนื้อหาบทความที่นำมาก็เป็นความรู้ให้กับเพื่อนๆเป็นอย่างดี   คนที่ 3นำเสนอเริ่มต้นได้ดีเป็นลำดับขั้นตอนของการนำเสนอบทความที่นำมาก็เป็นความรู้ให้กับเพื่อนๆเป็นอย่างดี   คนที่ 4เริ่มต้นนำเสนอได้ดีแต่เพื่อนพูดเร็วไปทำให้พูดพันกันและเพื่อนฟังไม่ทัน    ส่วนเพื่อนๆทุกคนตั้งใจฟังและให้ความร่วมมือในการเรียนดีอาจมีคนที่คุยกันบ้างแต่ก็ตั้งใจตอบคำถามที่อาจารย์ถามเป็นอย่างดี
อาจารย์ : อาจารย์มีวิธีการสอนที่กระตุ้นให้นักศึกษาตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาโดยการใช้คำถามและถามคำถามซ้ำๆกับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาเกิดการจำมากขึ้นแต่ละคำถามจะใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์และตอบคำถามด้วยความเข้าใจของนักศึกษาจริงๆ





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น